กิจกรรม วันที่ 29 พฤศจิกายน 2553





ตอบ ข้อ 3 ส่วนจุดที่อยู่ในระดับสูงกว่า ณ ตำแหน่งผิวโลก เรียกว่า "จุดเหนือศูนย์กลางแผ่นดินไหว" (epicenter) การสั่นสะเทือนหรือแผ่นดินไหวนี้จะถูกบันทึกด้วยเครื่องมือที่เรียกว่า ไซสโมกราฟ โดยการศึกษาเรื่องแผ่นดินไหวและคลื่นสั่นสะเทือนที่ถูกส่งออกมา จะเรียกว่า "วิทยาแผ่นดินไหว




ตอบข้อ 4 เพราะ  คลื่นสึนามิเกิดขึ้นจากการกระทบกระเทือนที่ทำให้น้ำปริมาณมากเกิดการเคลื่อนตัว เช่น แผ่นดินไหว แผ่นดินถล่ม หรืออุกกาบาตพุ่งชน[ต้องการอ้างอิง]
เมื่อแผ่นดินใต้ทะเลเกิดการเปลี่ยนรูปร่างอย่างกระทันหัน จะทำให้น้ำทะเลเกิดเคลื่อนตัวเพื่อปรับระดับให้เข้าสู่จุดสมดุลและจะก่อให้เกิดคลื่นสึนามิ การเปลี่ยนรูปร่างของพื้นทะเลมักเกิดขึ้นเมื่อเกิดแผ่นดินไหวเนื่องจากการขยับตัวของเปลือกโลก ซึ่งจะเกิดบริเวณที่ขอบของเปลือกโลกหลายแผ่นเชื่อมต่อกันที่เรียกว่า รอยเลื่อน (fault) เช่น บริเวณขอบของมหาสมุทรแปซิฟิก นอกจากแผ่นดินไหวแล้ว ดินถล่มใต้น้ำที่มักเกิดร่วมกับแผ่นดินไหวสามารถทำให้เกิดคลื่นสึนามิได้เช่นกัน


ตอบ ข้อ 2 เพราะ 
1. แผ่นดินสะเทือน พื้นดินสั่นไหวเป็นระลอกคลื่น การสั่นไหวทำให้ตึก สะพานและถนนพังพินาศไปชั่วพริบตา
2. แผ่นดินเลื่อน ทำให้ถนน ทางรถไฟ แนวสายไฟฟ้า ท่อแก๊ส-ท่อน้ำ-ประปา เกิดการฉีกขาด ตามแนวการเลื่อนตัว 3. ไฟไหม้ ผลพวงที่ตามมาจาก 2 ข้อแรก ซึ่งเป็นผลต่อเนื่องที่บางครั้งสร้างความเสียหายได้มากกว่า เช่น แผ่นดินไหวที่ซานฟรานซิสโก (พ.ศ. 2449) และที่โตเกียวและโยโกฮามา (พ.ศ.2466) ที่ประเมินกันว่าความเสียหายที่เกิดขึ้นกว่าร้อยละ 90 มาจากไฟไหม้4. แผ่นดินถล่ม มักเกิดในบริเวณที่มีความลาดชันมาก ผลที่ตามมาก็คือ พื้นดินหรือแผ่นหินเลื่อนมาตามความลาดชันสู่พื้นราบ เมืองหลายเมือง เช่น ในอลัสก้า คาลิฟอร์เนีย จีน อิหร่าน ตุรกี พังพินาศเพราะผลจากแผ่นดินไหวนี้
5. ธรณีสูบ( Liquefaction) น้ำในดินบางครั้งแทรกอยู่ในรูพรุนของเม็ดตะกอนจนแถบไม่มีช่องอากาศอยู่เลย พอเกิดแผ่นดินไหว แรงบีดอัดทำให้ตะกอนพวกนี้ไหลพุ่งขึ้นตามมากับน้ำที่อิ่มตัวนี้ บ้างก็ถูกฉุดลงไปในพื้นดิน แผ่นดินไหวที่เมืองแองคอแรด อะลาสก้า (พ.ศ. 2507) หรือที่นิอิกาตะในญี่ปุ่นในปีเดียวกัน บ้านเรือนหลายหลังถูกธรณีสูบทั้งที่เป็นหย่อม ๆ และเป็นแนว6. คลื่นยักษ์ หรือสึนามิ (Tsunami) การเลื่อนหรือเคลื่อนตัวของเปลือกโลกใต้มหาสมุทรทำให้คลื่นไหวสะเทือนส่งผ่านให้กับน้ำทะเล และผลน้ำทะเลเกิดเป็นระรอกคลื่นที่ผิว และเคลื่อนตัวเข้าหาฝั่งด้วยความเร็วอย่างน้อย 300 ถึง 400 กม ต่อชั่วโมง แผ่นดินไหวใกล้เกาะ คูนิแมค อะลาสก้า ปี พ.ศ. 2489 ใช้เวลาเดินทางสี่ชั่วโมงครึ่งกว่าจะถึงเกาะฮาวาย ด้วยความเร็วคลื่นประมาณ 800 กม/ชม จากจุดเกิด ตอนแรกแทบมองไม่เห็นคลื่น แต่เมื่อถึงฮาวายคลื่นสูงถึง 18 เมตร กวาดบ้านเรือน 500 หลังในชั่วพริบตา อีกกว่าพันหลังเสียหายและคร่าชีวิตมนุษย์ไป 159 คน


ตอบข้อ 3 เพราะ การศึกษาไทรโลไบต์มหายุคพาลีโอโซอิกในบริเวณเขตแดนระหว่างเวลช์-อังกฤษโดยไนล์ เอลเดรดจ์เป็นพื้นฐานนำไปสู่การทดสอบและจำลองแบบพังค์ตูเอเตดอีควิลิเบรียมซึ่งเป็นกลไกลหนึ่งของวิวัฒนาการ
จากการศึกษาไทรโลไบต์ในพื้นที่แอตแลนติกกับแปซิฟิคบริเวณมหาสมุทรทะเลโบราณอิเอเปตัสพบว่ามีความใกล้ชิดกันในทางวิวัฒนาการถือเป็นหลักฐานที่สำคัญในการสนับสนุนทฤษฎีทวีปจรและทฤษฎีเพลตเทคโทนิก
ไทรโลไบต์มีความสำคัญในการประมาณอัตราการแตกแขนงวิวัฒนาการ (rate of speciation) ในช่วงเวลาหนึ่งๆ เช่นในยุคแคมเบรียน เพราะว่าไทรโลไบต์เป็นกลุ่มของเมต้าซัวส์ที่มีความหลากหลายมากที่สุดกลุ่มหนึ่งซึ่งรู้ได้จากซากดึกดำบรรพ์ทั้งหลายในช่วงต้นของยุคแคมเบรียน
ไทรโลไบต์ใช้เป็นดัชนีกำหนดตำแหน่งทางการลำดับชั้นหินของยุคแคมเบรียนได้ดี นักวิจัยทั้งหลายที่พบไทรโลไบต์ที่มีโปรโซปอนชนิดเอลิเมนทารีและมีพายกิเดียมเล็กกว่าเซฟาลอนจะทำให้ทราบได้ว่ามีอายุอยู่ในยุคแคมเบรียนตอนต้น การลำดับชั้นหินยุคแคมเบรียนทั้งหลายจะใช้ซากดึกดำบรรพ์ไทรโลไบต์เป็นดัชนี


ตอบข้อ 1 เพราะ ประเทศไทยมีการพบรอยและโครงกระดูกไดโนเสาร์ทั่วทุกภาคของประเทศ แต่ที่มากที่สุดน่าจะเป็นในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งมีการค้นพบซากฟอสซิลไดโนเสาร์ ตั้งแต่ภูเวียง จังหวัดขอนแก่น ภูกุ้มข้าว จังหวัดกาฬสินธุ์ การพบรอยเท้าไดโนเสาร์ที่ภูหลวง จังหวัดเลย ที่ภูแฝก จังหวัดกาฬสินธุ์
  และล่าสุดมีข่าวการค้นพบที่จังหวัดชัยภูมิ ในพื้นที่อำเภอภูเวียง จังหวัดขอนแก่น จากการศึกษาพบว่า เป็นโครงกระดูกไดโนเสาร์ซอโรพอด ที่มีความยาวประมาณ 15 เมตร นับเป็นการค้นพบซากไดโนเสาร์ครั้งแรกในเมืองไทย และจากการค้นพบดังกล่าวทำให้บริเวณนี้ได้รับการประกาศจัดตั้งเป็นอุทยานแห่งชาติภูเวียง และจัดเป็นอุทยานไดโนเสาร์แห่งแรกในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ หรือ ศูนย์ศึกษาวิจัยและพิพิธภัณฑ์ไดโนเสาร์ภูเวียง ตั้งแต่ปี 2535


ตอบข้อ 3 เพราะ 
  ดาวเกิดขึ้นเมื่ออะตอมของเบาๆ ถูกบีบภายใต้ความดันมากพอที่จะทำให้เกิดดาวทั้งหมดที่เป็นผลพวงมาจากการสมดุลพอดีกับแรงต่างๆ ชึ่งมีดังนี้ แรงโน้มถ่วง จนทำปฏิกิริยา เริ่มขึ้นและทันที
  ความไม่สม่ำเสมอของก๊าซ ทำให้เกิดแรงโน้มถ่วงที่ดึงโมเลกลุของแก๊สเข้ากัน  แรงโน้มถ้วงหรือการก่อกวนสนามแม่แหล็ก  ทำให้เกิดเนบิวลาแตกสลาย



ตอบข้อ 4 เพราะ 


ตอบข้อ 2 เพราะ ดวงจันทร์ใช้เวลาในการหมุนรอบตัวเองที่ได้จังหวะพอดีกับวิถีการโคจรรอบโลก ซึ่งเมื่อเรามองดวงจันทร์จากพื้นโลกจะมองเห็นดวงจันทร์เพียงด้านเดียวตลอดเวลา ในประวัติศาสตร์ยุคแรกของดวงจันทร์ การหมุนของมันช้าและกลายเป็นถูกล็อกอยู่ในลักษณะนี้ เป็นผลมาจากปรากฏการณ์ความฝืด และมีความสัมพันธ์กับปรากฏการณ์น้ำขึ้นน้ำลงบนโลก


ตอบข้อ 4 เพราะ ระบบสุริยะ มี ดวาพุธ ดาวศุกร์ โลก ดาว อังคาร ดาวพฤหัสบดี ดาวยูเรนัส ดาวเนปจูน ดาวพลูโต
ส่วนดาวลูกไก่ไม่ได้อยุในระบะสุริยะ


ตอบข้อ 1 เพราะ ถ้ากาแล็กซีเคลื่อนที่ห่างออกไปจะปรากฏมีสีแดงขึ้น เรียกว่า กาแล็กซีมีการเขยื้อนไปทางสีแดงหรือ "เรดชิฟต์" (redshift) ถ้าเคลื่อนที่เข้าหาเรา กาแล็กซีจะปรากฏมีสีน้ำเงินขึ้น เรียกว่า เขยื้อนไปทางสีน้ำเงินหรือ "บลูชิฟต์" (blueshift) ปรากฏการณ์เปลี่ยนสีนี้ เรียกว่า ปรากฏการณ์ดอปเปลอร์
ฮับเบิลใช้ปรากฏการณ์ดอปเปลอร์วัดความเร็วของกาแล็กซีต่างๆ และค้นพบความสัมพันธ์เหลือเชื่อที่ว่า กาแล็กซียิ่งอยู่ไกลยิ่งเคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูงขึ้น นั่นคือเขาค้นพบว่า อัตราเร็วของกาแล็กซีเป็นปฏิภาคโดยตรงกับระยะห่าง ปัจจุบันเรียกว่า กฎของฮับเบิล กฎนี้แสดงว่าเอกภพทั้งหมดกำลังมีขนาดโตขึ้น


ตอบข้อ 3เพราะ ปีแสง คือ หน่วยของระยะทางในทางดาราศาสตร์ 1 ปีแสง เท่ากับระยะทางที่แสงเดินทางในเวลา 1 ปี จากอัตราเร็วแสงที่มีค่า 299,792.458 กิโลเมตร/วินาที ระยะทาง 1 ปีแสงจึงมีค่าประมาณ 9.4607×1012 กิโลเมตร = 63,241.077 หน่วยดาราศาสตร์ = 0.30660 พาร์เซก เนื่องจากเอกภพมีขนาดมหึมา แสงจากวัตถุท้องฟ้าที่อยู่ไกลจึงใช้เวลาหลายปีกว่าจะเดินทางมาถึงเรา นั่นหมายความว่าเราเห็นอดีตของวัตถุนั้นอยู่ตลอดเวลา


ตอบข้อ 1 เพราะ ดาวเทียมสำรวจทรัพยากรดวงแรกของไทย หรือที่รู้จักกันดีในชื่อดาวเทียมธีออส  (THEOS :Thailand Earth Obser-vation Satellite)  จะขึ้นสู่วงโคจรในเดือนตุลาคม พ.ศ.2550 ที่ประเทศคาซักสถาน  อวดศักยภาพบันทึกข้อมูลภาพได้ทั่วโลก และสามารถรับข้อมูลได้อย่างทันทีในลักษณะใกล้เวลาจริง โดยขณะนี้ตัวดาวเทียมอยู่ระหว่างรอการทดสอบเชิงกลศาสตร์ ส่วนความพร้อมโครงสร้างภาคพื้นดิน (Ground Infrastructure) สทอภ.ได้กำหนดให้สถานีรับสัญญาณดาวเทียมเดิมของสทอภ.ที่เขตลาดกระบังเป็นที่ตั้งรับสัญญาณ (X-band) และผลิตข้อมูล (Image Ground Segment: IGS) และได้สร้างสถานีควบคุมดาวเทียมธีออส ซึ่งตั้งอยู่ในอ.ศรีราชา จ.ชลบุรี ซึ่งจะเป็นที่ติดตั้งระบบ Control Segment: CGS และ S-band Station


ธีออสได้รับการออกแบบให้มีอายุการใช้งานอย่างน้อย 5 ปี (Design Life) เช่นเดียวกับดาวเทียมวงโคจรต่ำ (LEO : Low Earth Orbit) แต่อาจมีอายุการใช้งานได้นานกว่าที่ออกแบบไว้ สามารถสำรวจได้ครอบคลุมทั่วโลก บันทึกข้อมูลได้ทั้งในช่วงที่คลื่นตามองเห็น (Visible) สามช่วงคลื่น คือ ช่วงคลื่นแสง สีแดง สีเขียว และสีน้ำเงิน และช่วงคลื่น อินฟราเรดใกล้ (Near Infrared) การโคจรของดาวเทียม ขณะอยู่ในช่วงที่มีแสงสว่างจะมีอุณหภูมิสูงประมาณ 200 cในขณะที่โคจรกลับมาทางด้านมืดจะมีอุณหภูมิต่ำประมาณ -200 c  ส่วนประกอบของดาวเทียมจึงต้องมีสภาพทนทานต่อการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ ดังนั้น จึงใช้ส่วนประกอบที่ผลิตจาก Silicon Carbide ซึ่งมี คุณสมบัติเหมาะสมต่อการทนสภาพอุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลง
ตอบข้อ 2 เพราะ ดาวเที่ยมใช้สำรวจเกี่ยวกับพิกัดตำแหน่งต่างๆ และภัยธรรมชาติต่างๆ


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น